มณีจินดา

ข้อมูลสมาชิก – มณีจินดา

เริ่มเป็นสมาชิก: May 17, 2012 01:02:36 , สถานะ: ปกติ , ตั้งประมูล: 0 รายการ , รายการที่ยังไม่ปิด: 0 รายการ , คำชม: 183 รายการ , คำติ: 0 รายการ

ประวัติ Feedback



เขียนโดย :atts29 เจ้าของรายการ November 05, 2016 07:37:11

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/พระเนื้อผง-เนื้อว่าน/6971688


เชิญ ร่วมประมูล มีหลายรายการ  ลองชมดูครับ ผู้ชนะประมูลเมื่อโอนเงินแล้วกรุณาเมล์แจ้งทาง Mail Box ด้วยนะครับ เนื่องจากบางทียอดเงินเท่ากัน โปรดระบุวันและเวลาที่โอนด้วยครับ


เขียนโดย :pasiri เจ้าของรายการ November 05, 2016 06:10:38


ธนบัตร 1000 บาท รัชกาลที่ 9 หลังรัชกาลที่ 8 เลขสวย 9 หน้า 9 หลัง พร้อมด้วย หมวด 9 หายากสุดๆ พร้อมเคลือบกันน้ำ


เขียนโดย :krichthep.k เจ้าของรายการ November 03, 2016 10:37:07


"เหรียญ1บาท"หลังวัดพระแก้วปี25 ตอกโค๊ดปีที่ออกปี25ครับ คัดสวยเก่าเก็บไม่ผ่านการล้าง แท้ดูง่ายสบายตา **รับประกันตามกฎครับ**


เขียนโดย :Gthana เจ้าของรายการ November 02, 2016 09:01:44


เหรียญสวยเดิม ไม่ล้าง กล่องเดิมครบชุด (ขาดเหรียญเนื้อทองคำ)    ราคาวัดใจ ที่เดียว2เหรียญ เนื้อเงิน + เนื้อทองแดง มีบัตรแล้วเรียบร้อยครับ กล่องเดิมอลังการ รับประกันแท้  


เขียนโดย :ศรศิลป์ เจ้าของรายการ November 02, 2016 08:20:39


กล่องเดิม ประวัติพระจิตรลดา โครงการหลวง ปี 2539 ด้วย ในปี พ.ศ.2539 ซึ่งเป็นมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี คณะกรรมการมีความเห็นที่จะจัดสร้างวัตถุมงคลขึ้นเป็นที่ระลึกเพื่อให้ พสกนิกรได้สักการบูชาแสดงความจงรักภักดีน้อมเกล้าฯ ในวโรกาสมหามงคลดังกล่าว และหากจะพึงมีรายรับก็จะนำทูลเกล้าฯ ถวายสนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวง คณะกรรมการได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้าง ดังนี้ พระพุทธรูปบูชา ขนาดหน้าตัก 12 นิ้ว, พระกริ่งพิมพ์จิตรลดา, พระพิมพ์จิตรลดา เป็นพระพิมพ์นูนบนพื้นสามเหลี่ยม, และพระพิมพ์จิตรลดา เนื้อผง การ จัดสร้างพระพุทธนวราชบพิตร พระพิมพ์จิตรลดาดังกล่าวนี้ สืบเนื่องจากคณะกรรมการได้พิจารณาเห็นว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสร้างพระพุทธนวราชบพิตรและพระราชทานเพื่อ ประดิษฐาน ณ จังหวัดต่างๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2509 ที่ฐานบัวหงายของพระพุทธนวราชบพิตร ได้ทรงบรรจุพระพุทธรูปพิมพ์ซึ่งทรงสร้างด้วยพระหัตถ์จากผงศักดิ์สิทธิ์นานา ชนิด ทั้งในพระองค์และจากสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ในจังหวัดต่างๆ ดังปรากฏรายละเอียดการจัดสร้างพระพุทธนวราชบพิตรที่พระราชทานเป็นพระประจำ จังหวัด ดังนี้ พระ พุทธนวราชบพิตร เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 23 ซม. สูง 40 ซม. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริให้สร้างขึ้น เพื่อประดิษฐานไว้ ณ จังหวัดต่างๆ ทุกจังหวัดทั่วพระราชอาณาเขต เมื่อ พ.ศ.2509 โดยได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ นายไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ข้าราชการกองหัตถศิลป กรมศิลปากร เข้ามาปั้นหุ่นพระพุทธปฏิมานี้ในพระราชฐาน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และได้ทรงตรวจพระพุทธลักษณะของพระปฏิมานั้นจนเป็นที่พอพระราชหฤทัยแล้ว จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้นายช่างเททองหล่อพระพุทธรูปนั้นขึ้น เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2509 และได้โปรดเกล้าฯให้ขนานนามพระพุทธรูปนั้นว่า “พระพุทธนวราชบพิตร” พระ พุทธนวราชบพิตรนั้น นอกจากจะเป็นนิมิตหมายแห่งคุณพระรัตนตรัย อันเป็นที่เคารพบูชาสูงสุดแห่งพุทธศาสนิกชนทั่วไปแล้ว ยังเป็นนิมิตหมายแห่งความผูกพันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ระหว่างองค์พระมหากษัตราธิราชกับบรรดาพสกนิกรของพระองค์ในทุกจังหวัดทั่วพระ ราชอาณาจักร และพระพุทธรูปพิมพ์ซึ่งได้บรรจุไว้ที่ฐานบัวหงายนั้น ก็ประกอบด้วยวัตถุศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ อันศาสนิกชนทั่วพระราชอาณาจักรได้ปฏิบัติบูชาสืบเนื่องกันมาเป็นเวลาช้านาน พระพุทธนวราชบพิตร จึงเป็นพระพุทธรูปที่สำคัญยิ่งองค์หนึ่งในรัชกาลปัจจุบัน พระ พุทธรูปพิมพ์ที่ทรงสร้างนี้ นอกจากที่ทรงประดิษฐานไว้ที่ฐานบัวของพระพุทธนวราชบพิตรแล้ว ยังทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯพระราชทานแก่ข้าราชบริพารและพสกนิกรบางคนนำไปบูชาด้วย แต่จำนวนไม่มากนัก และได้เรียกขานนามพระกันเป็นสามัญ จนเป็นที่รู้จักว่า “พระสมเด็จจิตรลดา” คณะ กรรมการได้เห็นความสำคัญของพระพุทธนวราชบพิตรและพระสมเด็จจิตรลดาดังกล่าว ซึ่งมีความสำคัญและหาได้ยากยิ่ง จึงได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อจัดสร้างพระพุทธนวราชบพิตร พระพิมพ์จิตรลดา ในโอกาสเฉลิมฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสสักการบูชา เมื่อได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต จึงเป็นพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ (นามพระพิมพ์จิตรลดา เพื่อให้แตกต่างจากพระสมเด็จจิตรลดา) จึงได้เกิด “โครงการสร้างพระพุทธนวราชบพิตร พระพิมพ์จิตรลดา ในพระบรมราชินูปถัมภ์” ขึ้น โครงการ นี้ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงรับโครงการไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ คณะกรรมการนั้นมีมูลนิธิโครงการหลวง มูลนิธิพัฒนาชีวิตชนบท และ เครือเจริญโภคภัณฑ์ เป็นที่ปรึกษา หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ทรงเป็นประธานกรรมการอำนวยการ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ เป็นรองประธานกรรมการอำนวยการ และคุณวัลลภ เจียรวนนท์ เป็นประธานกรรมการดำเนินงาน การ จัดสร้างนั้น แบ่งเป็นพระเนื้อโลหะส่วนหนึ่ง และพระเนื้อผงอีกส่วนหนึ่งคณะกรรมการได้ดำเนินการ ดังนี้ ด้วยการจัดสร้างพระพุทธนวราชบพิตร พระพิมพ์จิตรลดาในครั้งนี้ มีทั้งพระเนื้อโลหะและพระเนื้อผง พระเนื้อโลหะมีหลายรายการ แต่สร้างจำนวนไม่มาก แต่พระเนื้อผงรายการเดียวนั้นจัดสร้าง 1 ล้านองค์ ดังนั้น การจัดเตรียมเนื้อพระจึงเป็นเรื่องใหญ่ที่คณะกรรมการได้เตรียมการล่วงหน้า ไว้เป็นเวลานาน คณะกรรมการได้จัดสร้างพระทั้งหมดตามโครงการนี้ ดังนี้ 1.พระ พุทธนวราชบพิตร พระบูชาเนื้อนวโลหะ ขนาดหน้าตัก 12 นิ้ว จำนวน 3 องค์ เพื่อทูลเกล้าฯถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (เมื่อทูลเกล้าฯถวายแล้ว ได้พระราชทานมูลนิธิโครงการหลวง 1 องค์ เครือเจริญโภคภัณฑ์ 1 องค์) 2.พระ กริ่งพิมพ์จิตรลดา ชุดพิเศษ เป็นองค์พระพุทธนวราชบพิตรลอยองค์ ฐานบัวสองชั้น ขนาดหน้าตัก 2.2 ซม. สูง 4.6 ซม. ด้านหลังมีตรากาญจนาภิเษก จัดสร้างเฉพาะผู้สั่งจอง จำนวน 108 ชุด 1 ชุด มีพระกริ่งเนื้อทองคำหนักประมาณ 51 กรัม 1 องค์ เนื้อเงิน 1 องค์ เนื้อนาก 1 องค์ เนื้อสัมฤทธิ์ 1 องค์ เนื้อนวโลหะ 1 องค์ พระพิมพ์จิตรลดา ขนาดใหญ่ เนื้อทองคำ 1 องค์ เนื้อเงิน 1 องค์ เนื้อนวโลหะ 1 องค์ พระพิมพ์จิตรลดา ขนาดเล็ก เนื้อทองคำ 1 องค์ เนื้อเงิน 1 องค์ เนื้อนวโลหะ 1 องค์ และพระพิมพ์จิตรลดา เนื้อผง 1 องค์ รวม 12 องค์ บรรจุรวมในกล่องไม้สวยงาม 3.พระ พิมพ์จิตรลดา ขนาดใหญ่ เป็นพระพิมพ์รูปองค์พระพุทธนวราชบพิตรนูนต่ำบนพื้นสามเหลี่ยม สูง 3.2 ซม. ด้านหลังเป็นตรากาญจนาภิเษก มีอักษรว่า โครงการหลวง สร้างเป็นเนื้อทองคำ เงิน และนวโลหะ 2,539 ชุด เฉพาะเนื้อเงิน 40,000 องค์ เฉพาะเนื้อนวโลหะ 40,000 องค์ พระพิมพ์จิตรลดาขนาดเล็ก เหมือนขนาดใหญ่แต่ย่อมกว่า คือสูงเพียง 2.3 ซม. จัดสร้างเนื้อทองคำ เงิน นวโลหะ ชุดละ 3 องค์ รวม 5,000 ชุด เฉพาะเนื้อเงิน 60,000 องค์ เนื้อนวโลหะ 60,000 องค์ 4.พระ พิมพ์จิตรลดา เนื้อผงลักษณะและขนาดเหมือนพระพิมพ์จิตรลดาขนาดใหญ่ มีรายละเอียดเหมือนกัน เพียงแต่เป็นเนื้อผงพุทธคุณ จัดสร้างจำนวน 1,000,000 องค์ นอก จากจำนวนที่สร้างตามกำหนดดังกล่าวแล้ว ยังได้จัดสร้างอีกส่วนหนึ่งคือ พระกริ่งจิตรลดาชุดพิเศษ (ชุดละ 12 องค์ ตามข้อ 2) จำนวน 6 ชุด และพระเนื้อผงจำนวน 50,000 องค์ เพื่อทูลเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก กับมีพระกริ่งเจริญโภคทรัพย์ 1 องค์ พระพิมพ์จิตรลดา เนื้อผง 1 องค์ รวมเป็นชุด ทั้งหมด 1,999 ชุด สำหรับกรรมการและคณะทำงานดังที่ได้เล่าเมื่อครั้งก่อนแล้ว สำหรับ พิธีพุทธาภิเษกดังได้ให้รายละเอียดไว้ใน ลานโพธิ์ ฉบับที่ 960 ตอนพระกริ่งเจริญโภคทรัพย์ คือ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานประกอบพิธีพุทธาภิเษก ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2538 สมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดสระเกศ เป็นประธานจุดเทียนชัย และ สมเด็จพระมหาธีราจารย์ วัดชนะสงคราม ดับเทียนชัย มีพระคณาจารย์นั่งปรกปลุกเสก รวม 36 รูป พระ กริ่งจิตรลดาหรือพระพุทธนวราชบพิตร พิมพ์จิตรลดาชุดพิเศษ จำนวน 108 ชุด นั้นมีผู้จองครบตามจำนวนที่สร้างนั้น และเมื่อหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประธานคณะกรรมการอำนวยการทรงนำคณะกรรมการเข้าเฝ้าทูลเกล้าฯถวายพระชุดพิเศษ 1 ชุด และพระเนื้อผง 50,000 องค์ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมกับทูลเกล้าฯ ถวายเงินสมทบทุนมูลนิธิโครงการหลวง จำนวน 277,035,026.19 บาท ผู้สั่งจองพระชุดพิเศษทั้งหมดได้เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานพระจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเรียบร้อย เมื่อวันอังคารที่ 23 เมษายน 2539 ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระพิมพ์จิตรลดา เนื้อโลหะ และเนื้อผง น่าจะยังพอหาได้บ้าง ส่วนพระกริ่งเจริญโภคทรัพย์ มีผู้ทำบุญไปหมดแล้ว.


เขียนโดย :yai2523 เจ้าของรายการ November 02, 2016 03:59:33


ได้รับพระเครื่องแล้วครับ ขอบคุณครับ


เขียนโดย :AODDY-QC ผู้ชนะประมูล June 14, 2016 05:41:58

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/หลวงพ่อคูณ-ปี-2512-2539/6496155


รับพระเรียบร้อยส่งเร็วเยี่ยมยอดครับ


เขียนโดย :เจจีจ้า ผู้ชนะประมูล May 26, 2016 10:34:11

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/พระบูชา-รูปถ่าย/6478282



เขียนโดย :punnarai เจ้าของรายการ May 23, 2016 20:47:02


ขอบคุณครับ (auto feedback)


เขียนโดย :tukta ผู้ชนะประมูล March 04, 2016 04:10:06

หน้าที่ :  5