(ตั้งนะโม 3 จบ)

พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันานัง มะเหสินัง
ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส
สะระณังกะโร โลกะหิโต ทีปังกะโร ชุตินธะโร
โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุริสาสะโภ
สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต ระติวัฑฒะโน
โสภิโต คุณะสัมปันโน อะโนมะทัสสี ชะนุตตุโม
ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระ สาระถี
ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฎิปุคคะโล
สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นะราสะโภ
อัตถะทัสสี การุณิโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท
สิทธิธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร
ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ วิปัสสี จะ อะนูปะโม
สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู สุขะทายะโก
กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญชะโห
กัสสะโป สิริสัมปันโน โคตะโม สักยะปุงคะโว
พุทโธ สัพพัญญุตะญาโณ มะหาชะนา นุกัมปะโก
ธัมโม โลกุตตะโร วะโร สังโฆ มัคคะผะลัฎโฐ จะ
อินทะสุวัณณะ ปาระมี เถโร อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง
เอตัสสะ อานุภาเวนะ สัพพะทุกขา อุปัททะวา
อันตะรายา จะ นัสสันตุ ปุญญะลาภะ มะหาเตโช
สิทธิกิจจัง สิทธิลาโภ สัพพะ โสตถี ภะวันตุ เม ติ

แก้วสารพัดนึก แท้จริงก็คือ “ใจที่ใสดังแก้วนั่นเอง หากใจใสสะอาดมีกำลังแล้วย่อมทำอะไรสำเร็จได้ดังที่คิด” ผู้ที่ใช้คาถานี้ได้ผลต้องถือศีล ให้ทาน หมั่นพิจารณาถึงความไม่เที่ยงแท้ในสรรพสิ่งไว้เสมอ ก่อนสวดระลึกถึงท่านหลวงปู่โต๊ะ อุทิศบุญกุศลที่ได้ทำมาทั้งหมดแก่พ่อแม่ครูอาจารย์