peratcs

ข้อมูลสมาชิก – peratcs

เริ่มเป็นสมาชิก: June 17, 2011 13:55:56 , สถานะ: ปกติ , ตั้งประมูล: 0 รายการ , รายการที่ยังไม่ปิด: 0 รายการ , คำชม: 777 รายการ , คำติ: 0 รายการ

ประวัติ Feedback

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/เครื่องราง-ล็อกเก็ต/5892606


**ถ่ายจากองค์จริงครับ**  ชนะประมูลโอนเงินแล้ว    >>คลิกแจ้งโอนเงินหรือส่งข้อความตรงนี้ได้เลยครับ<< หรือ โทรแจ้งการโอนเงินมาที่หมายเลข 089-0545338 เพื่อความรวดเร็วในการส่งให้ท่าน ภายใน 24 ชม. ผมยังมีอีกหลายรายการที่น่าสนใจ ลองคลิกดู>><<ดูนะครับ รับประกันตามกฏ         >>ลองคลิกดูครับผมยังมีอีกหลายรายการที่น่าสนใจตรงนี้เลย<<


เขียนโดย :สันต์สภาโจ๊ก เจ้าของรายการ November 09, 2015 14:54:32

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/พระเนื้อผง-เนื้อว่าน/5892833


พระสวยเดิมๆเลยค่ะ สากลนิยม รับประกันความแท้ตามกฏค่ะ


เขียนโดย :กัสจัง เจ้าของรายการ November 09, 2015 06:49:56


พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ "  หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ  จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง  โดยพระเถระวัดช้างให้  จ. ปัตตานี  ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี  มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘  พ่อท่านภาคใต้ ,  ๑๐๘  ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี ,  ๑๐๘  พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด  ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์  ณ วัดช้าง  อำเภอบ้านนา  จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี "  การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด  และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค  " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี  คือวันที่ ๒๐  มีนาคม  รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ  เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู)  แดงวิจิตร  แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ  หรือพระอาจารย์เดช  ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ  ของวัดช้าง  ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์  ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์  ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ  พระรัตนสูตร  พระมงคลสูตร  โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต  มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง  ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑  ของวัดช้าง  ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ  ๑.  ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ  และ  ๒.  ชนิดผิวปัดลูกผ้า  โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม  ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง  เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง  ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก  กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่  พิมพ์ทรงองค์พระ  หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว  ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย  ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ  สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง  สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน  ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง  จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย  องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต  ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด  และพิเศษมีเลข  ๑  หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง  นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต  ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม  โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว  แต่ถอดพิมพ์ได้  ๘  บล็อก  ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ  "พ่อท่าน"  เมืองใต้  ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด  มีขึ้นในวันที่  ๒๒  มีนาคม  ๒๕๕๓  ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ  เดือน ๕  ปีขาล  ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ  พ่อท่านจาก  ๑๔  จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่  ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ  วัดในเตา  จ. ตรัง  คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก  ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้  มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป  โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่  ๒๐  เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย  " เสาร์ ๕ "  ถึงวันที่  ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓  รวม ๔ วัน ๓ คืน  พิธีเถระ  "ท่านเจ้าวัด"  แห่งเมืองปัตตานี  พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด  ในการจัดสมโภชรูปเหมือน  องค์จำลอง  ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด  วันอาทิตย์ที่ ๒๑  มีนาคม  ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง  "วัดช้างให้"  ปัตตานี  ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป  มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร  ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง  รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง  เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...


เขียนโดย :tee2497 เจ้าของรายการ October 30, 2015 12:54:42

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/หลวงพ่อทวด-วัดอื่นๆ/5823520


พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ "  หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ  จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง  โดยพระเถระวัดช้างให้  จ. ปัตตานี  ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี  มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘  พ่อท่านภาคใต้ ,  ๑๐๘  ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี ,  ๑๐๘  พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด  ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์  ณ วัดช้าง  อำเภอบ้านนา  จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี "  การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด  และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค  " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี  คือวันที่ ๒๐  มีนาคม  รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ  เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู)  แดงวิจิตร  แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ  หรือพระอาจารย์เดช  ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ  ของวัดช้าง  ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์  ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์  ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ  พระรัตนสูตร  พระมงคลสูตร  โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต  มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง  ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑  ของวัดช้าง  ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ  ๑.  ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ  และ  ๒.  ชนิดผิวปัดลูกผ้า  โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม  ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง  เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง  ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก  กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่  พิมพ์ทรงองค์พระ  หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว  ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย  ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ  สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง  สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน  ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง  จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย  องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต  ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด  และพิเศษมีเลข  ๑  หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง  นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต  ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม  โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว  แต่ถอดพิมพ์ได้  ๘  บล็อก  ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ  "พ่อท่าน"  เมืองใต้  ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด  มีขึ้นในวันที่  ๒๒  มีนาคม  ๒๕๕๓  ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ  เดือน ๕  ปีขาล  ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ  พ่อท่านจาก  ๑๔  จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่  ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ  วัดในเตา  จ. ตรัง  คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก  ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้  มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป  โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่  ๒๐  เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย  " เสาร์ ๕ "  ถึงวันที่  ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓  รวม ๔ วัน ๓ คืน  พิธีเถระ  "ท่านเจ้าวัด"  แห่งเมืองปัตตานี  พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด  ในการจัดสมโภชรูปเหมือน  องค์จำลอง  ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด  วันอาทิตย์ที่ ๒๑  มีนาคม  ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง  "วัดช้างให้"  ปัตตานี  ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป  มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร  ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง  รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง  เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...


เขียนโดย :tee2497 เจ้าของรายการ October 16, 2015 05:32:27

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/หลวงพ่อทวดวัดช้างไห้/5823501


พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ "  หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ  จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง  โดยพระเถระวัดช้างให้  จ. ปัตตานี  ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี  มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘  พ่อท่านภาคใต้ ,  ๑๐๘  ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี ,  ๑๐๘  พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด  ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์  ณ วัดช้าง  อำเภอบ้านนา  จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี "  การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด  และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค  " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี  คือวันที่ ๒๐  มีนาคม  รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ  เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู)  แดงวิจิตร  แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ  หรือพระอาจารย์เดช  ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ  ของวัดช้าง  ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์  ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์  ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ  พระรัตนสูตร  พระมงคลสูตร  โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต  มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง  ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑  ของวัดช้าง  ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ  ๑.  ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ  และ  ๒.  ชนิดผิวปัดลูกผ้า  โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม  ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง  เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง  ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก  กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่  พิมพ์ทรงองค์พระ  หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว  ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย  ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ  สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง  สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน  ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง  จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย  องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต  ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด  และพิเศษมีเลข  ๑  หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง  นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต  ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม  โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว  แต่ถอดพิมพ์ได้  ๘  บล็อก  ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ  "พ่อท่าน"  เมืองใต้  ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด  มีขึ้นในวันที่  ๒๒  มีนาคม  ๒๕๕๓  ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ  เดือน ๕  ปีขาล  ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ  พ่อท่านจาก  ๑๔  จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่  ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ  วัดในเตา  จ. ตรัง  คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก  ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้  มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป  โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่  ๒๐  เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย  " เสาร์ ๕ "  ถึงวันที่  ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓  รวม ๔ วัน ๓ คืน  พิธีเถระ  "ท่านเจ้าวัด"  แห่งเมืองปัตตานี  พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด  ในการจัดสมโภชรูปเหมือน  องค์จำลอง  ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด  วันอาทิตย์ที่ ๒๑  มีนาคม  ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง  "วัดช้างให้"  ปัตตานี  ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป  มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร  ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง  รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง  เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...


เขียนโดย :tee2497 เจ้าของรายการ October 16, 2015 05:31:38

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/หลวงพ่อทวด-วัดอื่นๆ/5823540


พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ "  หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ  จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง  โดยพระเถระวัดช้างให้  จ. ปัตตานี  ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี  มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘  พ่อท่านภาคใต้ ,  ๑๐๘  ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี ,  ๑๐๘  พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด  ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์  ณ วัดช้าง  อำเภอบ้านนา  จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี "  การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด  และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค  " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี  คือวันที่ ๒๐  มีนาคม  รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ  เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู)  แดงวิจิตร  แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ  หรือพระอาจารย์เดช  ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ  ของวัดช้าง  ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์  ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์  ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ  พระรัตนสูตร  พระมงคลสูตร  โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต  มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง  ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑  ของวัดช้าง  ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ  ๑.  ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ  และ  ๒.  ชนิดผิวปัดลูกผ้า  โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม  ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง  เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง  ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก  กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่  พิมพ์ทรงองค์พระ  หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว  ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย  ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ  สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง  สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน  ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง  จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย  องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต  ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด  และพิเศษมีเลข  ๑  หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง  นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต  ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม  โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว  แต่ถอดพิมพ์ได้  ๘  บล็อก  ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ  "พ่อท่าน"  เมืองใต้  ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด  มีขึ้นในวันที่  ๒๒  มีนาคม  ๒๕๕๓  ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ  เดือน ๕  ปีขาล  ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ  พ่อท่านจาก  ๑๔  จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่  ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ  วัดในเตา  จ. ตรัง  คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก  ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้  มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป  โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่  ๒๐  เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย  " เสาร์ ๕ "  ถึงวันที่  ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓  รวม ๔ วัน ๓ คืน  พิธีเถระ  "ท่านเจ้าวัด"  แห่งเมืองปัตตานี  พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด  ในการจัดสมโภชรูปเหมือน  องค์จำลอง  ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด  วันอาทิตย์ที่ ๒๑  มีนาคม  ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง  "วัดช้างให้"  ปัตตานี  ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป  มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร  ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง  รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง  เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...


เขียนโดย :tee2497 เจ้าของรายการ October 16, 2015 05:29:27

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/หลวงพ่อทวด-วัดอื่นๆ/5815961


พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ "  หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ  จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง  โดยพระเถระวัดช้างให้  จ. ปัตตานี  ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี  มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘  พ่อท่านภาคใต้ ,  ๑๐๘  ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี ,  ๑๐๘  พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด  ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์  ณ วัดช้าง  อำเภอบ้านนา  จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี "  การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด  และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค  " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี  คือวันที่ ๒๐  มีนาคม  รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ  เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู)  แดงวิจิตร  แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ  หรือพระอาจารย์เดช  ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ  ของวัดช้าง  ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์  ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์  ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ  พระรัตนสูตร  พระมงคลสูตร  โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต  มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง  ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑  ของวัดช้าง  ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ  ๑.  ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ  และ  ๒.  ชนิดผิวปัดลูกผ้า  โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม  ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง  เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง  ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก  กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่  พิมพ์ทรงองค์พระ  หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว  ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย  ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ  สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง  สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน  ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง  จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย  องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต  ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด  และพิเศษมีเลข  ๑  หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง  นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต  ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม  โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว  แต่ถอดพิมพ์ได้  ๘  บล็อก  ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ  "พ่อท่าน"  เมืองใต้  ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด  มีขึ้นในวันที่  ๒๒  มีนาคม  ๒๕๕๓  ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ  เดือน ๕  ปีขาล  ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ  พ่อท่านจาก  ๑๔  จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่  ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ  วัดในเตา  จ. ตรัง  คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก  ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้  มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป  โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่  ๒๐  เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย  " เสาร์ ๕ "  ถึงวันที่  ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓  รวม ๔ วัน ๓ คืน  พิธีเถระ  "ท่านเจ้าวัด"  แห่งเมืองปัตตานี  พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด  ในการจัดสมโภชรูปเหมือน  องค์จำลอง  ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด  วันอาทิตย์ที่ ๒๑  มีนาคม  ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง  "วัดช้างให้"  ปัตตานี  ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป  มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร  ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง  รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง  เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...


เขียนโดย :tee2497 เจ้าของรายการ October 16, 2015 05:28:59

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/พระเนื้อผง-เนื้อว่าน/5726787


พระกำแพงแก้ว วัดรัมภาราม (วัดบ้านกล้วย) อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี ดำเนินการจัดสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2504 ได้เก็บรวบรวมมวลสารอันเป็นมงคลต่างๆ มาเป็นส่วนผสมดังนี้ 1.ดินกรุพระเครื่องมีชื่อ 7 กรุ 2.ไคลเสมาจากวัดที่มีชื่อลงท้ายว่า "แก้ว" 7 วัด 3.ดินสังเวชนียสถาน 7 ตำบล 4.ทรายจากกระถางธูปหน้าพระพุทธรูป ที่มีคนมาสักการะมาก 7 แห่ง 5.เกสรดอกไม้ในที่บูชาตามสถานที่สำคัญ 7 แห่ง 6.ใบโพธิ์ตรัสรู้จากประเทศอินเดีย 7 ต้น 7.พระอภิธรรม 7 คัมภีร์ 8.ดินจอมปลวก 7 จอม 9.น้ำมนต์ 7 วัด เป็นเครื่องประสาน อาทิ น้ำมนต์ คาถาแสน วัดรัมภาราม ปี พ.ศ.2501, น้ำมนต์ 100 ปี วัดบวรนิเวศวิหารและวัดราชบพิธฯ, น้ำมนต์เสาร์ 5 วิหารหลวงพ่อพระพุทธชินราช พิษณุโลก, น้ำมนต์หลวงพ่อทองคำ วัดไตรมิตรฯ, น้ำมนต์หลวงพ่อโต วัดอินทรวิหาร, น้ำมนต์จากวัดระฆังฯ นำส่วนผสมทั้งหมดคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน แล้วแผ่เป็นแผ่นผูกดวงชะตาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ ดวงประสูติ ดวงตรัสรู้ ดวงปรินิพพาน นอกจากนี้ ยังได้รับผงเกสรดอกไม้และว่านต่างๆ จากอีกหลายพระคณาจารย์ เช่น หลวงปู่นาค วัดระฆังฯ มอบผงสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ผงเศษพระปิลันทน์กับผงที่ท่านทำเอง พระครูวิริยกิตติ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี มอบผงที่ท่านเก็บสะสมไว้ ซึ่งเหลือจากการสร้างพระรุ่นอินโดจีน หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก มอบผงมหาราช, หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม มอบผงพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ มูลกัจจายน์ อิทธิเจ, หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง มอบผงมหาราช ปถมัง ตรีนิสิงเห นะ 108 เกสร 108 และว่านต่างๆ, หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ มอบผงวิเศษมหานิยม แคล้วคลาดคงกระพันชาตรี, พระครูรักขิตวันมุนี (หลวงพ่อถิร) วัดป่าเลไลย์ มอบเศษพระจากกรุวัดบ้านกร่าง และดินกลางใจเมือง 8 จังหวัด ดิน 534 วัด ดินสระ 7 สระ ดินโป่ง 5 แห่ง ดินจากสถานที่สำคัญอีก 24 แห่ง พระ อาจารย์ถนอม เขมจาโร วัดนางพญา พิษณุโลก มอบเศษพระชำรุดเป็นจำนวนมากจากหลายกรุหลายจังหวัด คือ จากพิษณุโลก 115 กรุ รวมทั้งเศษพระนางพญา สุโขทัย 16 กรุ อุตรดิตถ์ 1 กรุ กำแพงเพชร 1 กรุ พิจิตร 1 กรุ ลพบุรี 1 กรุ ลำพูน 1 กรุ พระอาจารย์ประหยัด วัดสุทัศน์ มอบผงที่เหลือจากการสร้างพระเมื่อปี พ.ศ.2496 ซึ่งปลุกเสกโดยพระอาจารย์หลายสิบรูป เป็นเวลา 7 วัน 7 คืน รวมทั้งผงเศษตะไบพระกริ่งสมเด็จพระสังฆราช (แพ) พระครูปริยัติยานุกู ล วัดพระงาม ลพบุรี มอบทรายทองในถ้ำสังกิจโจ และเม็ดพระศกหลวงพ่อพระงาม นอกจากนั้นยังมีผงศักดิ์สิทธิ์จากพระคณาจารย์อื่นๆ ที่มอบให้อีกเป็นจำนวนมาก มวลสารที่ได้มาในคราวหลังนี้ นำมาผสมรวมกับคราวแรกจัดพิมพ์เป็น พระเครื่องเนื้อผง ด้านหน้าเป็นรูป พระแก้วมรกต ประทับนั่งอยู่บนรัตนบัลลังก์ ล้อมด้วยซุ้มเส้นลวด เป็นกำแพง 7 ชั้น ใต้สุดมีตัวหนังสือว่า กำแพงแก้ว ด้านหลังเรียบปราศจากอักขระเลขยันต์ใดทั้งหมดอยู่ในกรอบพิมพ์รูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า ขนาดความกว้างประมาณ 2.1 ซ.ม. ยาวประมาณ 3.4 ซ.ม. เนื้อหาเป็นเนื้อผงอมน้ำมัน สีน้ำตาลอมเขียว จำนวนไม่ทราบแน่ชัดแต่ประมาณว่าคงจะอยู่ในราว 3,000 องค์ เมื่อเสร็จเรียบร้อยก็ได้นิมนต์พระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงทางวิทยาคม จำนวน 27 รูป มาร่วมพิธีปรกปลุกเสก พิธีการได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 25 ถึง 31 มีนาคม พ.ศ.2504 ตั้งแต่วันขึ้น 9 ค่ำ ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 รวมเวลา 7 วัน 7 คืน รายนามพระคณาจารย์ ที่อาราธนามานั่งปรกปลุกเสก หมุนเวียนกันก็มี อาทิ พระเทพสิทธินายก (หลวงปู่นาค) วัดระฆังฯ พระครูทักษิณานุกิจ (หลวงพ่อเงิน) วัดดอนยายหอม พระครูวิริยกิตติ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี พระครูประสาธน์วิทยาคม (นอ) วัดกลางท่าเรือ พระครูอาคมสุนทร (มา) วัดสุทัศน์ พระครูศรีพรหมโสภิต (แพ) วัดพิกุลทอง พระครูรักขิตวันมุนี (ถิร) วัดป่าเลไลย์ พระครูนิสิตคุณากร (กัน) วัดเขาแก้ว หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา หลวงพ่อซวง วัดชีปะขาว หลวงพ่อชม วัดตลุก หลวงปู่คำมี วัดถ้ำคูหาสวรรค์ หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โก่งธนู หลวงพ่อบุญมี วัดเขาสมอคอน หลวงพ่อฉาย วัดป่าธรรมโสภณ หลวงพ่อผัน วัดพยัคฆาราม หลวงพ่อดำ วัดเสาธงทอง หลวงพ่อสาย วัดไลย์ หลวงพ่อโสภิต วัดรัมภาราม และ พระคณาจารย์ชื่อดังอีก 7 รูป เท่านี้ก็เป็นสิ่งที่ยืนยันได้อย่างดีแล้วว่า พระเครื่องที่สร้างขึ้นครั้งนี้ ย่อมจะบังเกิดความศักดิ์สิทธิ์ เป็นสิริมงคลแก่ผู้บูชา หากไม่คิดเห็นเป็นอย่างอื่น ในเรื่องของพระหลักพระนิยมแล้ว พระสมเด็จกำแพงแก้ว หรือพระกำแพงแก้ว ของวัดรัมภาราม ท่าวุ้ง ลพบุรีนี้ จึงควรค่าแก่การสะสมสักการบูชาอย่างยิ่ง พระ กำแพงแก้ว มีด้วยกันสองพิมพ์คือ พิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก พุทธลักษณะเป็นพระแก้วมรกต ประทับนั่งอยู่ภายในเส้นซุ้มครอบแก้ว 7 ชั้น ใต้ฐานมีอักษรเขียนว่า "กำแพงแก้ว" พระพิมพ์ใหญ่เป็นรูปทรงขอบสี่เหลี่ยม ส่วนพระพิมพ์เล็ก เป็นพระที่ตัดขอบเข้ารูปตามซุ้มครอบแก้ว นอกนั้นจะคล้ายๆ กัน พระกำแพงแก้วนี้เป็นพระเนื้อผง พระกำแพงแก้ว พุทธคุณคุ้มครองดั่งกำแพงแก้ว 7 ชั้นที่ล้อมรอบองค์พระครับ เท่าที่ดูจากมวลสาร และพระเกจิอาจารย์ที่ร่วมปลุกเสกแล้ว ล้วนเป็นพระเกจิอาจารย์ดังๆ ทั้งสิ้นครับ


เขียนโดย :เกื้อหนุน เจ้าของรายการ October 15, 2015 20:05:02


พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ "  หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ  จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง  โดยพระเถระวัดช้างให้  จ. ปัตตานี  ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี  มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘  พ่อท่านภาคใต้ ,  ๑๐๘  ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี ,  ๑๐๘  พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด  ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์  ณ วัดช้าง  อำเภอบ้านนา  จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี "  การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด  และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค  " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี  คือวันที่ ๒๐  มีนาคม  รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ  เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู)  แดงวิจิตร  แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ  หรือพระอาจารย์เดช  ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ  ของวัดช้าง  ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์  ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์  ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ  พระรัตนสูตร  พระมงคลสูตร  โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต  มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง  ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑  ของวัดช้าง  ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ  ๑.  ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ  และ  ๒.  ชนิดผิวปัดลูกผ้า  โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม  ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง  เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง  ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก  กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่  พิมพ์ทรงองค์พระ  หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว  ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย  ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ  สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง  สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน  ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง  จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย  องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต  ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด  และพิเศษมีเลข  ๑  หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง  นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต  ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม  โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว  แต่ถอดพิมพ์ได้  ๘  บล็อก  ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ  "พ่อท่าน"  เมืองใต้  ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด  มีขึ้นในวันที่  ๒๒  มีนาคม  ๒๕๕๓  ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ  เดือน ๕  ปีขาล  ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ  พ่อท่านจาก  ๑๔  จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่  ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ  วัดในเตา  จ. ตรัง  คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก  ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้  มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป  โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่  ๒๐  เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย  " เสาร์ ๕ "  ถึงวันที่  ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓  รวม ๔ วัน ๓ คืน  พิธีเถระ  "ท่านเจ้าวัด"  แห่งเมืองปัตตานี  พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด  ในการจัดสมโภชรูปเหมือน  องค์จำลอง  ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด  วันอาทิตย์ที่ ๒๑  มีนาคม  ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง  "วัดช้างให้"  ปัตตานี  ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป  มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร  ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง  รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง  เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...


เขียนโดย :tee2497 เจ้าของรายการ October 12, 2015 07:46:25


พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ "  หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ  จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง  โดยพระเถระวัดช้างให้  จ. ปัตตานี  ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี  มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘  พ่อท่านภาคใต้ ,  ๑๐๘  ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี ,  ๑๐๘  พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด  ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์  ณ วัดช้าง  อำเภอบ้านนา  จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี "  การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด  และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค  " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี  คือวันที่ ๒๐  มีนาคม  รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ  เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู)  แดงวิจิตร  แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ  หรือพระอาจารย์เดช  ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ  ของวัดช้าง  ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์  ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์  ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ  พระรัตนสูตร  พระมงคลสูตร  โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต  มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง  ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑  ของวัดช้าง  ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ  ๑.  ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ  และ  ๒.  ชนิดผิวปัดลูกผ้า  โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม  ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง  เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง  ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก  กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่  พิมพ์ทรงองค์พระ  หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว  ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย  ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ  สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง  สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน  ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง  จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย  องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต  ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด  และพิเศษมีเลข  ๑  หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง  นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต  ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม  โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว  แต่ถอดพิมพ์ได้  ๘  บล็อก  ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ  "พ่อท่าน"  เมืองใต้  ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด  มีขึ้นในวันที่  ๒๒  มีนาคม  ๒๕๕๓  ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ  เดือน ๕  ปีขาล  ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ  พ่อท่านจาก  ๑๔  จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่  ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ  วัดในเตา  จ. ตรัง  คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก  ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้  มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป  โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่  ๒๐  เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย  " เสาร์ ๕ "  ถึงวันที่  ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓  รวม ๔ วัน ๓ คืน  พิธีเถระ  "ท่านเจ้าวัด"  แห่งเมืองปัตตานี  พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด  ในการจัดสมโภชรูปเหมือน  องค์จำลอง  ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด  วันอาทิตย์ที่ ๒๑  มีนาคม  ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง  "วัดช้างให้"  ปัตตานี  ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป  มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร  ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง  รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง  เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...


เขียนโดย :tee2497 เจ้าของรายการ October 12, 2015 07:46:00

หน้าที่ :  3