Tah_perfectman

ข้อมูลสมาชิก – Tah_perfectman

เริ่มเป็นสมาชิก: July 05, 2016 07:01:04 , สถานะ: ปกติ , ตั้งประมูล: 0 รายการ , รายการที่ยังไม่ปิด: 0 รายการ , คำชม: 146 รายการ , คำติ: 1 รายการ

ประวัติ Feedback


องค์นี้แก่น้ำมันว่าน และว่านผสมผงเก่า เก่าจัด ฟูตามสไตล์พระเนื้อว่าน เนื้อหา สุดคลาสสิค หลวงปู่วาส วัดสพานสูง เสก องค์นี้ผมรับมากับมือพระอาจารย์แว่นโดยตรงครับ (บางคนหลอกขายเป็นหลวงพ่อทองสุขเลยครับเนื้อผงน้ำมันแบบนี้)แบ่งของดีกันอีกแล้ว นานๆจะพบเนื้อแบบนี้สักองค์ เนื้อจัดเข้าว่าน เก่าจัด สร้างยุคแรกๆ แม่พิมพ์ประกบแบบโบราณ จะมีครีบออกข้างๆ เนื้อแก่ว่าน ชานหมาก เก่า หายากครับ **พิมพ์ทรงโบราณตามแบบฉบับวัดสพานสูง จนบางคนเช่าหาเป็นหลวงพ่อทองสุขไปแล้วครับ**แต่บอกตามตรงว่าเป็นพระปิดตาหลวงปู่วาส วัดสพานสูงครับ ผสมผงเก่าวัดสพานสูง ว่านมงคล+ชานหมาก อันลือชื่อ และแม่พิมพ์แบบโบราณ จัดว่าเป็นอีกรุ่นที่เด่นด้านเมตตา แคล้วคลาด แบบครบเครื่อง ใช้บูชาแทนพระปิดตาวัดสพานสูงหลักล้านได้เลยครับ ***แท้ทุกสนาม รับประกันด้วยชื่อเสียง nungfino ศิษย์พระอาจารย์แว่น วัดสพานสูง 1 เดียว สุดหายาก มวลสารสุดยอดที่เลื่องลือ สภาพสวยเดิมๆจากวัดแท้ๆ องค์นี้ผมได้รับจากมือพระอาจารย์แว่น วัดสพานสูงเลยครับ เก่าเก็บจริงๆ มวลสารเนื้อแห้งหิ้งๆเลย สายตรงแพงมากหลักพันกว่า-สองพันขึ้น วันนี้แบ่งไปเลยครับ เดิมๆ แท้ๆ สวยๆ หายากแบบนี้ ราคาตามศรัทธาครับ ส่งจริง แท้ทุกวัน


เขียนโดย :nungfino เจ้าของรายการ December 07, 2016 10:54:14


พระสมเด็จสายรุ้ง หลังยันต์นูน วัดศีลขันธาราม จังหวัดอ่างทอง เนื้อผงพุทธคุณขาว จัดสร้างเมื่อปี พ.ศ.2513 โดยท่านเจ้าคุณฯสนิท อดีตเจ้าอาวาสวัดขณะนั้น ท่านนับถือกันกับท่านเจ้าคุณฯนร วัดเทพศิรินทร์ฯ กทม. จึงนำพระเครื่องทั้งหมดหลายพิมพ์ที่วัดวัดศีลขันธาราม จัดสร้าง รวมทั้งมวลสารที่เหลือจากการกดพิมพ์พระเข้าร่วมพิธีอธิษฐานจิตครั้งสุดท้าย ครั้งใหญ่ที่สุดของท่านเจ้าคุณนรฯ ณ อุโบสถวัดเทพศิรินทร์ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2513 จุดสังเกตคือ  - ด้านหลังเป็นยันต์นูน จะเป็นพระที่กดพิมพ์แล้วนำเข้าพิธี(ทันเจ้าคุณนรฯ)  - ด้านหลังเป็นยันต์จม จะเป็นพิมพ์ที่กดทีหลังโดยนำมวลสารที่เข้าพิธีมากดพิมพ์พระออกมาใหม่อีกวาระหนึ่ง(ไม่ทันเจ้าคุณนรฯ)  *** ผงนี้พระสภาเดิมไม่ผ่านการใช้เลย แป้งรองพิมพ์เก่ายังติดอยู่ ดูง่าย พระสวย


เขียนโดย :reset_35 เจ้าของรายการ December 07, 2016 03:10:27


ประวัติชีวิต ของ ท่านเจ้าคุณนรฯ พระอรหันต์กลางกรุงแห่งวัดเทพศิรินทร์ ท่าน ธมฺมวิตกฺโก ภิกขุ" หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า " เจ้าคุณนรฯ" หรือพระยานรรัตนราชมานิต เป็นผู้มีความกตัญญูสูงสุด มีสัจจะมั่นคง มีขันติวิระยะแรงกล้า มีเมตตา และทรงคุณธรรมอันประเสริฐ สามารถปฏิบัติธรรมสำเร็จผลสูงสุด ท่านจึงเป็นแบบอย่างที่ดีให้นสาธุชนได้เคารพกราบไหว้สักการะบูชา ในฐานะผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และปฏิบัติออกจากทุกข์โดยแท้จริง พระ ยานรรัตนราชมานิต มีนามเดิมว่า ตรึก จินตยานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2440 ที่บ้านใกล้วัดโสมนัสวรวิหาร กรุงเทพฯ เป็นบุตรของพระนรราชภักดี (ตรอง จินตยานนท์ ) และนางนรราชภักดี ( พุก จินตยานนท์) ศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนวัดโสมนัสฯ ชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร ชั้นอุดมศึกษาที่โรงเรียนข้าราชการพลเรือนหอวัง (ต่อมาได้ยกฐานะเป็นจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ) ได้รับประกาศนียบัตรในวิชารัฐศาสตร์ เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าซ้อมรบเสือป่าที่ค่ายหลวง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงทอดพระเนตรและพอพระราชหฤทัยจึงโปรดเกล้าฯ รับสั่งชวนให้เข้ารับราชการในราชสำนักนับแต่นั้นเป็นต้นมา ท่านได้เข้ารับราชการเริ่มแรกในกรมมหาดเล็กหลวง แผนกตั้งเครื่อง ตำแหน่งมหาดเล็กวิเศษ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 และในระยะเวลาเพียง 9 ปี ท่านก็ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯให้เป็นเจ้ากรมห้องพระบรรทม มีบรรดาศักดิ์เป็น พระยานรรัตนราชมานิต เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2465 ขณะที่มีอายุ 25 ปี และได้เป็นองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 เมื่อวันที่ 1 กรกฏาคม พ.ศ. 2467 ท่าน มีความสนใจขวนขวายแสวงหาวิชาความรู้อยู่เสมอ โดยเฉพาะด้านภาษานอกจากนี้ได้แก่ศิลปการป้องกันตัว โยคศาสตร์ ซึ่งวิชาเหล่านี้ได้เป็นประโยชน์ต่อการรับราชการและสุขภาพของท่านในเวลาต่อ มา ในตำแหน่ง ต้นห้องพระบรรทมพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวท่านได้ปฏิบัติงานด้วย ความวิริยะอุตสาหะ ทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจ ถวายชีวิตและความสุขส่วนตัว เพื่อพระองค์ท่านด้วยความจงรักภักดีและความกตัญญูเป็นที่ยิ่ง ด้วยความเอาใจ ใส่ต่อราชการ จึงทำให้ท่านก้าวหน้าในหน้าที่ราชการอย่างรวดเร็ว ท่านเจ้าคุณ นรรัตนราชมานิต รับราชการจนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ขณะนั้น ท่านมีทั้งฐานะ ทั้งทรัพย์สมบัติ และโอกาสที่จะหาความเจริญในทางโลกต่อไปอย่างพร้อมมูล แต่ท่านได้สละทุกสิ่งทุกอย่างออกอุปสมบท เพื่ออุทิศพระราชกุศลถวาย แด่สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2468 ณ วัดเทพศิรินทราวาส โดยมีสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถระ) เป็นพระอุปัชฌาชย์ ได้รับฉายาทางสมณเพศว่า "ธมฺมวิตกฺโก ภิกขุ" และท่านก็ได้ครองสมเพศตลอดมาจนถึงมรณภาพ เมื่ออยู่ในสมณเพศ ท่านธมฺมวิตกฺโก มีชีวิตโดยเคร่งครัดในศีล และการประพฤติปฏิบัติธรรมเป็นอย่างยิ่ง ท่านไปลงโบสถ์ทำ วัตรเช้าและเย็นวันละ 2 ครั้ง และไม่ออกนอกวัดเพื่อไปในงานหรือกิจการใด ไม่พบปะพูดคุยกับผู้ใดนัก นอกจากการสนทนาธรรม ซึ่งท่าน ยินดีจะให้คำตอบและอธิบายอย่างเต็มใจเท่าที่สามารถกระทำได้ และเนื่องจากท่านเป็นสมณะที่เคร่งครัด อุดมไปด้วยศีลาจารวัตรที่งดงาม จึงมีผู้คนไปขอพรท่านเป็นจำนวนมาก จนท่านได้เขียนโอวาทไว้ว่า "ทำดี ดีกว่าขอพร" คือให้ทุกคนตั้งใจพยายามทำแต่กรรมดี โดยไม่มี ความเกรงกลัวหวั่นไหวต่ออุปสรรคใดๆ เลื่อมใสในคุณพระรัตนตรัย ก็จะทำให้บุคคลนั้นมีความสุขและมีความเจริญสำเร็จสมประสงค์ ตลอดระยะ เวลาที่ท่านอยู่ในสมณเพศเป็นระยะเวลา 46 ปีเต็ม นับได้กว่า15,000 วัน ไม่มีวันใดเลยที่ท่านจะว่างเว้นจากการ กรวดน้ำอุทิศถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และในวันที่ 25 พฤศจิกายนของทุกปี ซึ่งเป็นวันเสด็จสวรรคต ของพระองค์ ท่านธมฺมวิตกฺโก ก็จะงดเว้นการฉันอาหาร 1 วัน และนั่งกระทำสมาธิตลอดคืน เพื่อน้อมจิตอุทิศถวายกุศลผลบุญที่ได้ปฏิบัติมา โดยตลอด แด่พระองค์ท่านและได้บำเพ็ญกุศลต่างๆ เพื่อน้อมอุทิศถวายเป็นพระราชกุศลอีกเป็นอเนกประการ ส่วนสมเด็จพระพุทธโฆ ษาจารย์ พระอุปัชฌาชย์ ท่านธมฺมวิตกฺโก มีความเคารพเลื่อมใสเป็นอย่างยิ่งเพราะท่านเป็นพระเถระ ที่สงบเคร่งครัดต่อการประพฤติปฏิบัติและมีเมตตาสูง ท่านได้เพียรพยายามประพฤติปฏิบัติตามคำอบรมสั่งสอนอย่างเคร่งครัดและรับใช้ ใกล้ชิด ในสิ่งที่พึงปฏิบัติได้ ครั้นเมื่อ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ถึงแก่มรณภาพ งานบำเพ็ญกุศล วันคล้ายวันมรณภาพวันที่ 8 มิถุนายน เวียนมาถึงแต่ละปี ตอนเช้าท่านธมฺมวิตกฺโก จะเดินส่งอัฐิที่อัญเชิญเข้าประดิษฐานในพระอุโบสถเป็นประจำทุกปีไม่เคยขาด และรับเป็นเจ้าภาพเครื่องไทยธรรมสำหรับถวาย พระสวดมนต์และพระเทศน์เป็นประจำตลอดชีวิต นอกจากนี้ท่านธมฺมวิตกฺโก ยังมีความกตัญญูกตเวที โดยเฉพาะกับบุพการีและผู้มีพระคุณเป็นอย่างยิ่งเมื่อครั้งที่ยังรับราชการ ทุกคราวที่มาถึงบ้านและกลับไปเข้าวัง จะต้องมากราบคุณแม่และคุณยายทั้งขามาและขากลับ เงินเดือนที่ได้รับจากการทำงาน จะนำมามอบ ให้คุณแม่ทั้งหมด แล้วขอไปใช้ส่วนตัวเท่าที่จำเป็นเท่านั้น อีกทั้งอบรมสั่งสอนให้น้องๆ ช่วยเหลือดูแลคุณพ่อ,คุณแม่และคุณยายเพื่อตอบ แทนพระคุณ จึงนับได้ว่าท่านเป็นคนที่มีความกตัญญูอย่างแท้จริง ตั้งแต่ท่าน ธมฺมวิตกฺโก อุปสมบท ไม่เคยปรากฎว่า ท่านแสดงธรรมเทศนาที่ใด แม้โอวาทของท่านก็มีเพียงสั้นๆ แต่ท่าน จะฟังเทศน์ที่พระเณรรูปอื่นเทศน์ในพระอุโบสถ โดยความเคารพอย่างสูงทุกครั้ง แสดงให้เห็นว่า การเคารพธรรมอย่างสูงไม่ควรเลือกว่าใครพูด ใครแสดง ถ้าเป็นธรรมประกอบด้วยเหตุผลของท่านผู้รู้แล้ว ประเสริฐทั้งสิ้น


เขียนโดย :The Big เจ้าของรายการ December 03, 2016 12:44:54


 วัดใจ !  ผ้ายันต์ " หลวงปู่แหวน " วัดดอยแม่ปั๊ง จ.เชียงใหม่ ปี 2521 เก็บสภาพสวย ขนาด 20 x 20 ซ.ม. หายากครับ เจอที่อื่นผืนละหลายร้อย ... บุญยวีร์ ... เปิดวัดใจ ! ให้คุณกำหนดราคาเองเลยครับ 


เขียนโดย :บุญยวีร์ เจ้าของรายการ November 29, 2016 22:38:03

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/พระปิดตาทุกสำนัก/7033545


องค์นี้แก่น้ำมันว่าน และว่านผสมผงเก่า เก่าจัด ฟูตามสไตล์พระเนื้อว่าน เนื้อหา สุดคลาสสิค หลวงปู่วาส วัดสพานสูง เสก องค์นี้ผมรับมากับมือพระอาจารย์แว่นโดยตรงครับ (บางคนหลอกขายเป็นหลวงพ่อทองสุขเลยครับเนื้อผงน้ำมันแบบนี้)แบ่งของดีกันอีกแล้ว นานๆจะพบเนื้อแบบนี้สักองค์ เนื้อจัดเข้าว่าน เก่าจัด สร้างยุคแรกๆ แม่พิมพ์ประกบแบบโบราณ จะมีครีบออกข้างๆ เนื้อแก่ว่าน ชานหมาก เก่า หายากครับ **พิมพ์ทรงโบราณตามแบบฉบับวัดสพานสูง จนบางคนเช่าหาเป็นหลวงพ่อทองสุขไปแล้วครับ**แต่บอกตามตรงว่าเป็นพระปิดตาหลวงปู่วาส วัดสพานสูงครับ ผสมผงเก่าวัดสพานสูง ว่านมงคล+ชานหมาก อันลือชื่อ และแม่พิมพ์แบบโบราณ จัดว่าเป็นอีกรุ่นที่เด่นด้านเมตตา แคล้วคลาด แบบครบเครื่อง ใช้บูชาแทนพระปิดตาวัดสพานสูงหลักล้านได้เลยครับ ***แท้ทุกสนาม รับประกันด้วยชื่อเสียง nungfino ศิษย์พระอาจารย์แว่น วัดสพานสูง 1 เดียว สุดหายาก มวลสารสุดยอดที่เลื่องลือ สภาพสวยเดิมๆจากวัดแท้ๆ องค์นี้ผมได้รับจากมือพระอาจารย์แว่น วัดสพานสูงเลยครับ เก่าเก็บจริงๆ มวลสารเนื้อแห้งหิ้งๆเลย สายตรงแพงมากหลักพันกว่า-สองพันขึ้น วันนี้แบ่งไปเลยครับ เดิมๆ แท้ๆ สวยๆ หายากแบบนี้ ราคาตามศรัทธาครับ ส่งจริง แท้ทุกวัน


เขียนโดย :nungfino เจ้าของรายการ November 29, 2016 11:44:51


เหรียญ 1 บาท ตราแผ่นดิน 2500 จำนวน 6 เหรียญ 1 บาท หลังสุพรรณหงส์ 6 เหรียญ เคาะเดียว


เขียนโดย :sutad3352 เจ้าของรายการ November 29, 2016 06:51:49


ใบที่3ครับ


เขียนโดย :bmosick เจ้าของรายการ November 22, 2016 07:21:39

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/พระเนื้อผง-เนื้อว่าน/6964066


หลวงพ่อพระราชพรหมยาน หลังยันต์เกาะเพชร วัดใจ สายตรงเชิญครับ


เขียนโดย :krichthep.k เจ้าของรายการ November 12, 2016 14:18:04

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/หลวงพ่อทวดวัดช้างไห้/6815895


หลวงปู่ทวด วัดช้างให้ เหรียญพุทธซ้อน ปี 2539 เนื้อทองแดง


เขียนโดย :เกื้อหนุน เจ้าของรายการ October 07, 2016 13:30:05

อ้างอิงถึงรายการ : /auction/พระสมเด็จทั่วไป/6809247


พระชุดวัดประสาทบุญญาวาส สามเสน กรุงเทพฯ ปี ๒๕๐๖ มวลสารผสมผงวัดระฆัง และสมเด็จบางขุนพรหม จัดสร้างโดย "พระสมุห์อำพล" อดีตเจ้าอาวาสวัดประสาทฯ ในช่วงปี ๒๕๐๕ - ๒๕๐๙ มวลสารผสมผงวัดระฆังฯ โดยท่านพยายามเสาะหาผงวิเศษจากหลายๆพระอาจารย์รวมทั้งชิ้นส่วนพระเครื่องแตก หักเก่าๆทั้งพระกรุและพระเกจิอาจารย์นับไม่ถ้วน โดยเฉพาะชิ้นส่วนแตกหักของ "สมเด็จบางขุนพรหมกรุใหม่" ที่ทางวัดเปิดกรุ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๐ มีจำนวนหลายลังทีเดียว ว่ากันว่า พระผงวัดประสาทฯ มีชิ้นส่วนแตกหักของพระสมเด็จบางขุนพรหมมีผสมอยู่มากกว่าสมเด็จบางขุนพรหม ๐๙ เสียอีก พระเกจิที่มาร่วมพิธีวัดประสาทฯ นั้นก็มีมากถึง ๒๐๐ กว่ารูป จนนั่งภายในพระอุโบสถไม่หมด ต้องให้นั่งข้างนอกพระอุโบสถแล้วโยงสายสิญจน์ออกมา พิธีในครั้งนั้นจัดว่าเป็นพิธีปลุกเสกวัตถุมงคลที่ยิ่งใหญ่และศักดิ์สิทธิ์ ที่สุดนับแต่พิธีปลุกเสกพระเครื่องฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ เป็นต้นมา *** มวลสาระสำคัญที่ได้รับมอเพื่อการจัดสร้างพระมีดังนี้ *** 1.มวลสารในการจัดสร้างสุดยอด มีส่วนผสม - ผงสมเด็จบางขุนพรหม พระครูบริหารคณาวัตร รองเจ้าอาวาสมอบให้ - ผงพระหักสมเด็จพระพุฒาจารย์โต - ผงพระหักสมเด็จปิลันท์ ซึ่งพบในเจดีย์วัดเทพากร - ผงพระเครื่องของขวัญวัดปากน้ำ ลพ.สดมอบให้วัดประสาทเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๗ - ผงพระหักกรุลำพูน - ผงพระกรุวัดพลับ - ผงหลวงพ่อโอภาสี เป็นต้น เกจิที่ร่วมพิธีปลุกเสก อาทิ เช่น อาจารย์ทิม วัดช้างไห้ ลป.โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ลพ.น้อย วัดธรรมศาลา ลพ.เงิน วัดดอนยายหอม ลพ.พรหม วัดช่องแค ลป.ทิม วัดละหารไร่ ลพ.กวย วัดโฆสิตาราม ลพ.คล้าย วัดสวนขัน ลป.เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว ลป.เฮี้ยง วัดป่าฯ ลพ.แดง วัดเขาบันไดอิฐ ลพ.มุ่ย วัดดอนไร่ ลพ.ทบ วัดชนแดน ลป.เขียว วัดหรงมล ลพ.จง วัดหน้าต่างนอก ลพ.เต๋ วัดสามง่าม ลป.สี วัดสะแก ลป.เทียน วัดโบสถ์ ลป.นาค วัดระฆังฯ ลพ.เนื่อง วัดจุฬามณี ลพ.โบ๊ย วัดมะนาว ฯลฯ


เขียนโดย :เกื้อหนุน เจ้าของรายการ October 05, 2016 10:10:10

หน้าที่ :  12